บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มิถุนายน, 2020

อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง Internet of Things : IOT IOT 👉  อุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมต่อหรือสื่อสารถึงกันได้ผ่านอินเทอร์เน็ต ความสำคัญ 🌞 ช่วยเพิ่มศักยภาพในการทำงาน = ทางธุรกิจ    การบริหารจัดการ 🌞 เช็คราคารวดเร็วด้วยการแสกน    พร้อมจ่ายเงินผ่าน APP องค์ประกอบสำคัญ 🐣 สมองกลฝังตัวและเซนเซอร์ 🐣 เกตเวย์และเครือข่าย = PAN, LAN, WSN 🐣 ส่วนสนับสนุนการบริการ 👉 ทำหน้าที่เชื่อมตัวกลาง IOT นิยมใช้ระบบคลาวด์ ช่วยเก็บและประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่ เช่น การประมวลผลข้อมูล   วิเคราะห์ข้อมูล   ควบคุมความปลอดภัย บริหารจัดการการเชื่อมต่อ อุปกรณ์ ควบคุมการรับ-ส่งข้อมูล   🐣 แอปพลิเคชั่น           IOT   สามารถนำไปใช้ 🐏 Smart sity 🐏 Smart Healthcare 🐏 Smart   Farm 🐏 Smart Home จัดทำโดย นางสาวจิรนันท์  ชื่นบาน  เลขที่ 20 ชั้น ม.6/1

การประมวลผลแบบคลาวด์

รูปภาพ
การประมวลผลแบบคลาวด์           Cloud computing           การประมวลผลบนระบบคลาวด์ ปัญหาที่พบจากการเก็บข้อมูลในแฟลชไดรฟ์ -         🌞  หล่นหาย -         🌞   ลืมเก็บ -         🌞   ไวรัสทำให้ข้อมูลสูญหาย -         🌞   ชำรุด การประมวลผลบนระบบคลาวด์ -        🐢    การให้บริการทรัพยากรคอมพิวเตอร์จากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต -        🐢    ใช้ได้ททุกที่ ทุกเวลา ไม่จำเป็นต้องรู้โรงผลิต -         🐢   จ่ายค่าบริการแก้โรงผลิต   ตามปริมาณการใช่งาน (ถ้ามี) -         🐢   ใช้บริการผ่านอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ข้อมูลถูกเก็บอยู่ใน ศูนย์ข้อมูล (Daata center) ของผู้ให้บริการ (Cloud service provider )                                       บริการอื่นที่ใช้บริการประมวลผลแบบคลาวด์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต                       การใช้งาน           สำหรับธุรกิจ 🌱 ไม่ต้องซื้อฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์เก็บที่บริษัท 🌱 สามารถปรับเพิ่ม-ลด ขนาดทรัพยากรคอมพิวเตอร์ที่ต้องการใช้ได้รวดเร็ว 🌱 ไม่เสียค่าใช้จ่ายเกินความจำเป็น สำหรับบุคคลทั่วไป 🐢  ใช้บร

นวัตกรรมเทคโนโลยี

นวัตกรรมเทคโนโลยี Teachable Machine What is Teachable Machine ?   เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้เราสร้างระบบ AI อย่างง่าย สิ่งที่ได้เรียนรู้ - พื้นฐานของ  Teachable Machine ที่ประกอบด้วยการฝึก (Training) คอมพิวเตอร์ด้วย ข้อมูล ให้คอมพิวเตอร์รู้ จำ และสามารถคัดแยกหมวดหมู่ได้ - รูปแบบการฝึก (Train) คอมพิวเตอร์ เรียกว่า Superuised Learning  - ความเที่ยงตรงของการทำนายขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ  เช่น ปริมาณ และคุณภาพของข้อมูลที่ป้อน จัดทำโดย นางสาวจิรนันท์  ชื่นบาน  ชั้น ม.6/1 เลขที่ 20 

นวัตกรรมที่ใช้ปัญญาประดิษฐ์

นวัตกรรมที่ใช้ปัญญาประดิษฐ์ AI ที่ทำงานในชีวิตประจำวัน - แปลภาษา - ค้นหาข้อมูล - นำทาง - ลูกค้าออนไลน์ - ผู้ช่วยเสมือนจิง ตัวอย่างการทำงนของ AI  1. การแปลเสียงพูดให้เป็นข้อความ "ระบบจดจำเสียง"  (Speech Recognitio System) 2. เครื่องแปลภาษา (Machine translation) 3. Google Assistant 4. SiRi 5. การระบุตัวตนด้วยใบหน้า (Facial Identification) 6. รถยนต์ขับเคลื่อนอัตโนมัติ Self-Driving call - Camera - Radar - Lider Light Detection and Ranging วัดระยะทางและสร้างแผนที่ 3 มิติ สรุป ____________ AI  ถูกนำมาใช้ช่วยอำนวยความสะดวกหลายๆอย่าง AI  ถูกพัฒนาต่อเนื่องเพื่อให้เฉลียวฉลาดและช่วยแก้ปัญหาต่างๆแทนมนุษย์  นางสาวจิรนันท์   ชื่นบาน  เลขที่ 20   ชั้น ม.6/1    

สรุปเนื้อหาปัญญาประดิษฐ์

เรื่องแนวคิดด้านปัญญาประดิษฐ์ บทที่ 2  นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ Outline ปัญญาประดิษฐ์ การประมวลผลบนคลาวด์ อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง เทคโนโลยีเสมือนจริง แนวโน้มของเทคโนโลยี นวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ การประมวลผลที่มีประสิทธิภาพขึ้น เครื่องจักรสามารถทำงานได้ดีกว่ามนุษย์ นำมาใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น การติดต่อสื่อสารธุรกิจ การเงิน อุตสาหกรรม การเกษตร การขนส่ง การแพทย์และพยาบาล ปัญญาประดิษฐ์ ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) กก่อตั้งครั้งแรกในปี 2499  จอร์น แมคคาร์ธี "วิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ที่สร้างความฉลาดให้กับเครื่องจักร" "The science and engineering of marketing intelling machines"  ยุคเริ่มต้นของปัญญาประดิษฐ์ ยุดเริ่มต้น สาขา AI เริ่มก่อตั้งในงานประชุมวิชาการที่มหาวิทยาลัยดาร์ตมัธส หรัฐอเมริกา 1950   TURING TEST ทดสอบความสามารถของเครื่องจักรโดย Alan Turing ว่ามีความสามารถในการคิดเช่นเดียวกับมนุษย์หรือไม่  1961  Unimate หุ่นยนต์อุตสาหกรรมตัวแรกที่ทำงานแทนมนุษย์ในสายการผลิต 1964 ELIZA