บทความ

สุขภาพกับการใช้งานเทคโนโลยี

รูปภาพ
สุขภาพกับการใช้งานเทคโนโลยี   การนั่งนิ่งๆเป็นเวลานาน หากท่านั่งไม่ถูกต้องจะส่งผลให้เกิดอาการกล้ามเนื้ออักเสบและปวดเมื่อยตามส่วนต่างๆของร่างกาย อาจทำให้เกิดการโค้งงอผิดรูปของกระดูกได้  บางท่าทำให้เกิดการตึง ยึด ปวดคอ ไหล่ และหลัง อาการแบบนี้เรียกว่า "ออฟฟิศซินโดรม" (Office syndrome) อาการแบบนี้สามารถแก้ไขได้ด้วยการเปลี่ยนท่านั่งและพฤติกรรมการใช้งานคอมพิวเตอร์ที่ถูกต้อง สายตา   ปรับระดับให้ขอบจอด้านบนอยู่ที่ระดับสายตา จนไม่รู้สึกว่าก้มหรือเงยมากเกินไป ข้อมือ   วางบนแป้นพิมพ์โดยไม่บิดงอขึ้นหรือกดตำเกินไป ขา   วางเข่าให้ตั้งฉากกับพื้น โดยให้เข่าวางราบกับพื้นให้หาสิ่งของมาหนุน เก้าอี้   ควรมีพนักพิงและปรับระดับความสูงให้สามารถวางเท้าราบกับพื้นโดยให้มือวางอยู่ในระดับเดียวกับแป้นพิมพ์ แขน   วางแขนให้ตำแหน่งข้อศอกแนบใกล้กับลำตัว หลัง   นั่งหลังตรง ไม่โน้มตัวไปข้างหน้าเพื่อให้มองเห็นหน้าจอได้ถนัด การใช้สายตาจ้องหน้าจอมือถือ หรือจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน อาจเสี่ยง โรคคอมพิวเตอร์วิชันซินโดรม (Computer Vision Syndrome :CVS) หรือ โรคซีวีเอส เกิดจากการใช้คอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์เป็นเวลานานๆ

ความเป็นส่วนตัว

ความเป็นส่วนตัว (Privacy) เป็นสิทธิส่วนบุคคลที่จะปกปิดไม่ให้ผู้อื่นทราบข้อมูลบางอย่าง - ข้อมูลที่ถูกรวบรวมเพื่อนำไปใช้ประโยชน์     🐣  ตำแหน่ง     🐣  เพศ     🐣  รายได้      กลุ่มเพื่อน - ไม่ควรละเมินความเป็นส่วนตัวของบุคคลอื่น นโยบายการใช้คุกกี้          เมื่อเราเข้าใช้งานเว็ปไซต์ใดเป็นประจำ เว็ปไซต์นั้นจะสามารถจดจำได้ว่า เราเคยใช้งาน เนื่องจากมีการเก็บข้อมูลขนาดเล็กที่เรียกว่า คุกกี้ (Cookies)         🐢  ไม่ใช่ซอฟต์แวร์บนเครื่องคอมพิวเตอร์         🐢  มองไม่เห็นข้อมูลทุกอย่าง         🐢  ไม่นำไวรัสเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์                   สิทธิและความรับผิดชอบ          ลักษณะการเผยแพร่          - เผยแพร่ผลงานให้เป็นสมบัติสาธารณะ          - เผยแพร่ผลงานที่อนุญาตให้ผู้อื่นนำไปใช้หรือพัฒนาต่อยอด          สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons : CC)        🍏  Attribution (BY) ใช้ทำซ้ำ แจกจ่าย ดัดแปลงได้ แต่ !! ต้องให้เครดิตที่มาของเจ้าของผลงานนั้น        🍏   Non Commercial (NC)   ใช้ทำซ้ำ แจกจ่าย ดัดแปลงได้   แต่ !! ต้องไม่ใช้เพื

การเป็นพลเมืองดิจิทัล

รูปภาพ
การเป็นพลเมืองดิจิทัล รู้ เข้าใจ และตระหนัก คุ้มค่า ปลอดภัย ตลอดเรียนรู้ที่จะเป็นผู้ป้องกันและปกป้องข้อมูลของตนเองและผู้อื่น พ . ศ .2562 ไมค์   ริบเบล (Mike Ribble) ปรับปรุงกรอบแนวคิดในการเป็นพลเมืองดิจิทัลที่ดี          SAVVY การมีความรู้ทางเทคโนโลยีและการแบ่งปันความรู้ให้กับผู้อื่น          SAFE การป้องกันตนเองและผู้อื่น          SOCIAL การเคารพตนเองและผู้อื่นในสังคมออนไลน์                   การรู้ดิจิทัล          ทักษะการรู้ดิจิทัล          “ รู้ใช้ รู้เข้าใจ รู้สร้างสรรค์ ” การใช้ Use เข้าใจ Understand = เข้าใจบริบท -> ประเมินสื่อ -> การตัดสินใจ การสร้าง Create                   การมีทักษะทางการสื่อสาร -       แพลตฟอร์มหรือสื่อกลาง                            ติดต่อสื่อสาร          แบ่งปันข้อมูล                   การทิ้งร่องรอยดิจิทัล (Digital Footprint)          - ภาพถ่าย          - แสดงความคิดเห็น          - การแชร์สิ่งที่ไม่เหมาะสม ร่องรอยดิจิทัลแบบแพสซีฟ Passive Digital Footprint - IP address - ประวัติการค้นหา      

Quantum Computing

แนวโน้มของเทคโนโลยี Centralized - มีความเสี่ยง - ล่าช้า - ยุ่งยากเอกสารเยอะ - ไม่คล่องตัว Decentralized - ปลอดภัย - รวดเร็ว - สะดวก Blockchain - เทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูลแบบกระจายศูนย์    ( Decentralized ) - ทุกโหนด (Node) ในเครือข่ายจะถูกเก็บข้อมูลชุดเดียวกัน - ข้อมูลทุกโหนดจะถูกเก็บในรูปของบล็อก การนำ Blockchain ไปใช้ 🐣 Digital Signature 🐣 โรงพยาบาล 🐣 สถาบันการศึกษา งานที่เหมาะกับ Blockchain 🐢 ความน่าเชื่อถือ 🐢 ความโปร่งใส 🐢 แก้ไขไม่ได้ Quantum Computing อดีต  👉  ปัจจุบัน มีการพัฒนาระบบการประมวลผลให้มีขนาดเล็กลงและเร็วขึ้น แนวโน้มของ   Quantum Computing   ที่ส่งผลต่อระบบต่างๆ 🐝 การสร้าง AI  👉  ได้ AI ที่ฉลาดสูงต้นทุนต่ำ 🐝 ระบบการรักษาความปลอดภัย  👉  การถอดรหัสจะเป็นเรื่องที่ง่ายดายจึงจำต้องเปลี่ยนวิธีการเข้ารหัสใหม่ทั้งหมด 🐝 ระบบการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสุขภาพ  👉  การถอดรหัส DNA ที่มีความแม่นยำ การวิเคราะห์ยาที่เหมาะสมกับโรคและ DNA ของแต่ละคน จัดทำโดย นางสาวจิรนันท์   ชื่นบาน   เลขที่ 20 ชั้น ม

เทคโนโลยีเสมือนจริง

เทคโนโลยีเสมือนจริง AR   = Augmented Reality หลักการทำงานของ AR สภาพแวดล้อม + วัตถุเสมือนที่เป็นภาพ ข้อความ หรือวิดีโอ ประโยชน์ของ AR ในด้านต่างๆ -        ☀    ด้านการท่องเที่ยว และการเดินทาง นำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวกับสถานที่ท่องเที่ยงและนำทาง -         ☀   ด้านการโฆษณาและการส่งเสริมการขาย สร้างสื่อประชาสัมพันธ์รูปแบบใหม่ เช่น แอปพลิเคชั่นสำหรับแสดงภาพจำลองเฟอร์นิเจอร์ที่มีขนาดเท่าของจริงภายในบ้าน -          ☀  ด้านความบันเทิง / เกม การผสานสภาพเหมือนหลายแบบเข้ากับสภาพแวดล้อมจริงที่อ้างอิงตามตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ VR = Virtual Reality สภาพแวดล้อมเสมือนจริง เทคโนโลยี VR มีองค์ประกอบหลัก 2 ส่วน คือ 1. ซอฟต์แวร์ที่สร้างสภาพแวดล้อมเสมือนจริง 2. ฮาร์ดแวร์ที่ช่วยทำให้ผู้ใช้ตอบโต้กับโลกเสมือน อุปกรณ์ของ VR -   จอแสดงผลแบบติดศีรษะ (Head-mounted display) -   ถุงมือรับรู้ (Sensor Glove) ประโยชน์ด้านต่างๆของ VR ☀ ด้านการศึกษา การฝึกปฏิบัติจริง ในงานที่มีค่าใช้จ่ายสูงหรืออันตราย ☀ ด้านความบันเทิง เล่นเกมหรือชมภาพยนตร์ ☀ ด้านการท่องเที่ยว จำลองสถานท

อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง Internet of Things : IOT IOT 👉  อุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมต่อหรือสื่อสารถึงกันได้ผ่านอินเทอร์เน็ต ความสำคัญ 🌞 ช่วยเพิ่มศักยภาพในการทำงาน = ทางธุรกิจ    การบริหารจัดการ 🌞 เช็คราคารวดเร็วด้วยการแสกน    พร้อมจ่ายเงินผ่าน APP องค์ประกอบสำคัญ 🐣 สมองกลฝังตัวและเซนเซอร์ 🐣 เกตเวย์และเครือข่าย = PAN, LAN, WSN 🐣 ส่วนสนับสนุนการบริการ 👉 ทำหน้าที่เชื่อมตัวกลาง IOT นิยมใช้ระบบคลาวด์ ช่วยเก็บและประมวลผลข้อมูลขนาดใหญ่ เช่น การประมวลผลข้อมูล   วิเคราะห์ข้อมูล   ควบคุมความปลอดภัย บริหารจัดการการเชื่อมต่อ อุปกรณ์ ควบคุมการรับ-ส่งข้อมูล   🐣 แอปพลิเคชั่น           IOT   สามารถนำไปใช้ 🐏 Smart sity 🐏 Smart Healthcare 🐏 Smart   Farm 🐏 Smart Home จัดทำโดย นางสาวจิรนันท์  ชื่นบาน  เลขที่ 20 ชั้น ม.6/1

การประมวลผลแบบคลาวด์

รูปภาพ
การประมวลผลแบบคลาวด์           Cloud computing           การประมวลผลบนระบบคลาวด์ ปัญหาที่พบจากการเก็บข้อมูลในแฟลชไดรฟ์ -         🌞  หล่นหาย -         🌞   ลืมเก็บ -         🌞   ไวรัสทำให้ข้อมูลสูญหาย -         🌞   ชำรุด การประมวลผลบนระบบคลาวด์ -        🐢    การให้บริการทรัพยากรคอมพิวเตอร์จากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต -        🐢    ใช้ได้ททุกที่ ทุกเวลา ไม่จำเป็นต้องรู้โรงผลิต -         🐢   จ่ายค่าบริการแก้โรงผลิต   ตามปริมาณการใช่งาน (ถ้ามี) -         🐢   ใช้บริการผ่านอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต ข้อมูลถูกเก็บอยู่ใน ศูนย์ข้อมูล (Daata center) ของผู้ให้บริการ (Cloud service provider )                                       บริการอื่นที่ใช้บริการประมวลผลแบบคลาวด์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต                       การใช้งาน           สำหรับธุรกิจ 🌱 ไม่ต้องซื้อฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์เก็บที่บริษัท 🌱 สามารถปรับเพิ่ม-ลด ขนาดทรัพยากรคอมพิวเตอร์ที่ต้องการใช้ได้รวดเร็ว 🌱 ไม่เสียค่าใช้จ่ายเกินความจำเป็น สำหรับบุคคลทั่วไป 🐢  ใช้บร